ไหนใครสงสัย!? kyc cdd หมายถึงอะไร บทความนี้มีคำตอบ!
บัตรเครดิต ซิตี้ แคชแบ็ก แพลตตินั่ม

KCC CDD หมายถึงอะไร!?

kyc cdd หมาย ถึง

 

KYC CCD ศัพท์ทางการเงินสองตัวนี้.........อาจไม่ใช่สิ่งที่ผู้คนทั่วไปที่ไม่ได้อยู่ในแวดวงธนาคารและการเงินจะจำเป็นต้องรู้ถึงควายหมายหรือแม้กระทั่งรู้ว่ามีอยู่บนโลกแต่ใครจะรู้บ้างเล่าว่า....เจ้าสองตัวนี้อยู่ใกล้ตัวท่านมากกว่าที่คิด! ในทุกครั้งที่ท่านทำธุรกรรมการเงิน สิ่งนี้คือ ส่วนหนึ่งที่ตรวจสอบข้อมูลของท่าน เริ่มพูดแบบนี้ ชักอยากรู้กันขึ้นมาบ้างแล้วใช่ไหมคะ ว่าเอ๊ะ เราไปทำแบบนั้นตอนไหน ไขข้อข้องใจกันด้านล่างได้เลยค่ะ

 

kyc cdd หมายถึง : ทำความรู้จักความหมายของ KYC

kyc cdd หมาย ถึง

 

KYC หรือ Know Your Customer หมายถึง กระบวนการตรวจสอบความถูกต้องของบุคคล ท่านผู้อ่านคงจะกำลังสงสัยอยู่ใช่ไหมคะว่าใครจะมาตรวจสอบเรา? แล้วความถูกต้องของเราใครจะต้องอยากรู้? แล้วจะอยากรู้ไปทำไม? แล้วเพิ่งจะมาทำในตอนนี้หรือเปล่า? คำตอบของคำถามเหล่านี้ สามารถตอบได้ในหัวข้อต่อๆไปค่ะ

kyc cdd หมายถึง : ทำความรู้จักความหมายของ CCD

CDD หรือ Customer Due Diligence พฤติกรรมการโอนเงิน ฝาก ถอน มีความผิดปกติหรือไม่ โดยสิ่งเหล่านี้จะถูกตรวจสอบโดยสถาบันการเงินที่เราเข้าไปทำธุรกรรมด้วยค่ะ

kyc cdd หมายถึง : การทำ KYC และCCD เกี่ยวข้องกับอะไร

kyc cdd หมาย ถึง

 

 

KYC และ CCD เป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายฟอกเงิน ที่เป็นส่วนหนึ่งของ พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน โดยกฎหมายฉบับนี้เริ่มบังคับใช้ทำให้ทุกๆธนาคารและสถาบันการเงินที่ต้องตรวจสอบลูกค้าทุกคนที่เปิดบัญชี เช่น บุคคลธรรมดา นิติบุคคล บุคคล ที่ไม่มีความสามารถตามกฎหมาย (ผู้เยาว์) และองค์กรที่ไม่ใช่นิติบุคคล อาทิ ชมรมชุมชนค่ะ

 

kyc cdd หมายถึง : สาเหตุของการบังคับใช้ KYC และ CCD

kyc cdd หมาย ถึง

 

สาเหตุที่เริ่มบังคับใช้ KYC และ CCD นั่นคือการที่มีกระบวนการก่อการร้ายระดับสากลและในประเทศเพิ่มจำนวนสูงขึ้นค่ะ โดยคนพวกนี้ใช้เทคโนโลยีในการเป็นอีกหนึ่งของทางโจรกรรม เช่น การขโมยเลขบัตรเครดิต การขโมยประกันสังคมซึ่งถือว่าระบาดไปทั่วโลกเลยค่ะ ทีนี้ให้ความเห็นชอบมาตรการป้องกันปราบปรามการฟอกเงินและการต่อต้านการสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย ที่เสนอโดยคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน หรือ ปปง. และในระดับหน่วยงานกำกับดูแลที่เกี่ยวข้อง มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 มีนาคม 2550 ค่ะ

 

kyc cdd หมายถึง : พฤติกรรมน่าสงสัยสามารถตรวจสอบได้เมื่อใช้ KYC และCCD

เพื่อไม่ให้มีผู้ไม่ประสงค์ดีใช้ตลาดทุนเป็นช่องทางในการฟอกเงินหรือสนับสนุนทางการเงินแก่การก่อการร้าย ธนาคารหรือสถาบันการเงินจะรายงานการทำธุรกรรมที่น่าสงสัยต่อปปง. เพื่อทำการตรวจสอบในทันทีค่ะ หากพบว่ามีการทำธุรกรรมในขนาดที่แตกต่างไปจากปกติอย่างมีสาระสำคัญทางธนาคารอาจจะติดต่อท่านผู้อ่านมาเพื่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมนะคะ 

kyc cdd หมายถึง : เคยทำ KYC ไปหรือยัง?

ท่านผู้อ่านคงยังไม่แน่ใจว่าตัวท่านเคยทำ kyc กับธนาคารไปหรือยัง แต่ขอบอกได้เลยว่าท่านได้ทำแล้วอย่างแน่นอนค่ะ เนื่องจากการทำ kyc อยู่ในขั้นตอนการเปิดบัญชีเพราะ ทางสถาบันการเงินจำเป็นต้องรู้ว่าผู้เปิดบัญชีเป็นใคร มีฐานะอย่างไร รับความเสี่ยงได้ประมาณเท่าไหร่ค่ะ ที่จะพิเศษหน่อยคือ ท่านจะระบุว่าใครเป็นผู้ที่จะได้รับผลประโยชน์จากการทำธุรกรรมและใครเป็นคนมีอำนาจควบคุมการทำธุรกรรมเป็นคนสุดท้ายค่ะ

 

kyc cdd หมายถึง : บทส่งท้าย

kyc cdd หมาย ถึง

 

ท่านผู้อ่านหายสงสัยกับคำศัพท์ kyc และ ccd หรือยังคะเมื่อได้อ่านบทความนี้ที่ทางเราสรุปมาให้ อ่านแล้วคงคิดว่าธนาคารได้หลักฐานไปทุกอย่างเลย จะมีปัญหาเรื่องของข้อมูลอะไรทีหลังหรือเปล่าแต่ในความเป็นจริงไม่ใช่เลยนะคะ ธนาคารนำไปเพียงแค่เป็นเครื่องยืนยันความถูกต้องและเป็นปัจจุบันเท่านั้น เพราะแบบนี้ท่านผู้อ่านจึงหมดกังวลได้เลยนะคะ

 

บัตรเครดิต ซิตี้ แคชแบ็ก แพลตตินั่ม

อย่าลืมกดติดตามอัพเดตบทความและสาระดีดีกันนะ

บทความแนะนำ
บัตรเครดิตออมสิน 2562
ธนาคาร/สถาบันการเงินผู้ให้บริการบัตรเครดิต
รวม 10 คำถามพบที่พบบ่อยใน Pantip กับบัตรเครดิตธนาคารออมสิน ทำการสมัครออนไลน์ได้ไหม กี่วันรู้ผล!? ในปี 2564
10 คำถามยอดฮิตในการสมัครทำบัตรเครดิตธนาคารออมสิน สมัครออนไลน์ได้ไหม กี...
เพิ่มวงเงินบัตรเครดิต KTC ทั้ง 2 แบบ (ชั่วคราวและถาวร) คืออะไร? ทำอย่างไร?
ธนาคาร/สถาบันการเงินผู้ให้บริการบัตรเครดิต
เพิ่มวงเงินบัตรเครดิต KTC ทั้ง 2 แบบ (ชั่วคราวและถาวร) คืออะไร? ทำอย่างไร?
เพิ่มวงเงินบัตรเครดิต KTC ทั้ง 2 แบบ (ชั่วคราวและถาวร) คืออะไร? ทำอย่า...
บัตรเครดิตเซ็นทรัล อนุมัติกี่วัน สมัครไม่ผ่าน
องค์กรอื่นๆผู้ให้บริการบัตรเครดิต
สมัครบัตรเครดิตเซ็นทรัลยากไหม อนุมัติผ่าน ไม่ผ่านกี่วันรู้ผล? บทความนี้มีคำตอบ
บัตรเครดิตเซ็นทรัลสมัครยากไหม? อนุมัติผ่าน ไม่ผ่านกี่วันรู้ผล!? ใครอยา...