น่ารู้! ระเบียบวิธี KYC ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นยังไง อย่าพลาดบทความนี้!
บัตรเครดิต ซิตี้ แคชแบ็ก แพลตตินั่ม

ธนาคารแห่งประเทศ กับข้อกำหนดน่ารู้เกี่ยวกับ KYC

 

KYC ธนาคารแห่งประเทศไทย........ไม่แปลกเลยหากที่ธนาคารและสถาบันการเงินอื่นต้องปฏิบัติตามกฎหมายบังคับใช้เรื่อง KYC แล้วธนาคารแห่งประเทศไทยจะไม่เกี่ยวข้องเพราะ ชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าเป็นธนาคารแห่งประเทศไทย ศูนย์กลางของธนาคารพาณิชย์ทั้งหมดในประเทศ คงอยากเริ่มจะสนใจมากขึ้นแล้วใช่ไหมคะ แน่นอนว่าในบทความนี้ทุกท่านจะได้ รู้จักกับ KYC ธนาคารแห่งประเทศไทยแบบหมดเปลือกอย่างแน่นอน

 

kyc ธนาคารแห่งประเทศไทย : รู้จักกับ KYC 

kyc ธนาคาร แห่ง ประเทศไทย

 

KYC ธนาคารแห่งประเทศไทย : คำจำกัดความของ KYC หรือภาษาอังกฤษตัวเต็ม Know Your Customer นั่นหมายถึงกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องของบุคคล ที่ทางธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินในกำกับดูแลของปปง.ต้องทำกับลูกค้าที่มาใช้บริการทุกคนเพื่อป้องกันการฟอกเงินและการโจรกรรมทางการเงินค่ะ 

kyc ธนาคารแห่งประเทศไทย : กระบวนการรู้จักลูกค้า

KYC ธนาคารแห่งประเทศไทย : โดยกระบวนการรู้จักลูกค้าตามประกาศของธนาคารแห่งประเทศไทยมีอยู่ 2 ขั้นตอนสำคัญ ดังนี้

  1. การแสดงตนของลูกค้า (Identification)

KYC ธนาคารแห่งประเทศไทย : สถาบันการเงินสามารถพิสูจน์ตัวตนของลูกค้าผ่านสถาบันการเงินเองและการพิสูจน์ตัวตนทางดิจิทัล เช่น National Digital ID Platform (NDID Platfoam)และชีวมิติ โดยกำหนดให้ดูความถูกต้อง ความแท้จริงและความเป็นปัจจุบัน

2. การพิสูจน์ตัวตนลูกค้า (Verification)

KYC ธนาคารแห่งประเทศไทย : ตรวจสอบความถูกต้อง ความแท้จริงและความเป็นปัจจุบันตรวจสอบว่าบุคคลที่มาเปิดบัญชีเงินฝากเป็นบุคคลเดียวกันกับบุคคลในเอกสารหลักฐานการแสดงตน

KYC ธนาคารแห่งประเทศไทย : และสถาบันการเงินสมารถให้บริการลูกค้าได้ 2 ประเภท ดังนี้

  1. ประเภทพบเห็นลูกค้าต่อหน้า (Face-to-Face)
  2. ประเภทไม่พบเห็นลูกค้าต่อหน้า (Non Face-to-Face)

 

kyc ธนาคารแห่งประเทศไทย : ขั้นตอนการทำ KYC 

kyc ธนาคาร แห่ง ประเทศไทย

 

  1. KYC ธนาคารแห่งประเทศไทย : สถาบันการเงินต้องจัดให้แสดงตนและตรวจสอบความถูกต้องความแท้จริงและความเป็นปัจจุบันของข้อมูลและเอกสารหลักฐานการแสดงตนที่ได้รับจากลูกค้าค่ะ
  2. KYC ธนาคารแห่งประเทศไทย : สถาบันการเงินต้องบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความเสี่ยงของธุรกรรมและช่องทางการเปิดบัญชีเงินฝาก เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
  3. KYC ธนาคารแห่งประเทศไทย : สถาบันการเงินต้องให้ความสาคัญและบริหารความเสี่ยงด้านเทคโนโลยี สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ โดยสอดคล้องกับระดับความเสี่ยงและผลกระทบของเทคโนโลยี ให้นำมาใช้ในการให้บริการเปิดบัญชีเงินฝากและรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Security) เพื่อให้กระบวนการ KYC มีประสิทธิภาพมากขึ้น
  4. KYC ธนาคารแห่งประเทศไทย : สถาบันการเงินต้องให้ความสาคัญกับกระบวนการรู้จักลูกค้าโดยกำหนดนโยบายและกระบวนการการปฏิบัติงานภายในของสถาบันการเงินที่ชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษร ต้องสื่อสารทำความเข้าใจและให้ความรู้กับลูกค้าเพื่อให้ตระหนัก เพื่อให้ลูกค้าระมัดระวังและป้องกันการถูกเปิดบัญชีเงินฝากปลอมโดยบุคคลอื่นค่ะ
  5. KYC ธนาคารแห่งประเทศไทย : ห้ามสถาบันการเงินจะเปิดบัญชีเงินฝากให้กับลูกค้าที่ปกปิดชื่อจริง ใช้ชื่อแฝงหรือใช้ชื่อปลอม ต้องเป็นชื่อจริง นามสกุลจริงที่มาพร้อมหลักฐานยืนยันตัวตนเท่านั้นค่ะ

 

kyc ธนาคารแห่งประเทศไทย : การพิสูจน์ลูกค้าด้วยสถาบันการเงินเอง

 

1ประเภทพบเห็นลูกค้าต่อหน้า (Face-to-Face)

kyc ธนาคาร แห่ง ประเทศไทย

 

1.1 โดยในขั้นตอนทางสถาบันการเงินจะต้องดำเนินการตรวจสอบความถูกต้อง ความแท้จริง และความเป็นปัจจุบันของ ข้อมูลและเอกสารหลักฐานการแสดงตนที่ได้รับจากการระบุตัวตนหรือการแสดงตนของลูกค้า

1.2 ทางสถาบันการเงินจะต้องพิสูจน์ว่าเป็นลูกค้าหรือบุคคลที่ได้รับมอบอานาจทอดสุดท้ายจากนิติบุคคล รายนั้นจริง

1.3 เอกสารที่นำมายื่นจะต้องเป็นหลักฐานที่น่าเชื่อถือ เช่น การใช้ประชาชนแบบอเนกประสงค์ (Smart Card) เป็นเอกสารหลักฐานการแสดงตน สถาบันการเงินต้อง ตรวจสอบข้อมูลจากเครื่องอ่านบัตรประจาตัวประชาชนแบบอเนกประสงค์ (Smart Card Reader) และตรวจสอบสถานะของบัตรประจาตัวประชาชนผ่านระบบการตรวจสอบทางอิเล็กทรอนิกส์

1.4 สามารถใช้เทคโนโลยีชีวมิติเพื่อพิสูจน์ลูกค้าด้วยเช่นกัน

 

2ประเภทไม่พบเห็นลูกค้าต่อหน้า (Non Face-to-Face)

2.1 ทางสถาบันการเงินจะต้องดำเนินการตรวจสอบความถูกต้อง ความแท้จริง และความเป็นปัจจุบันของ ข้อมูลและเอกสารหลักฐานการแสดงตนที่ได้รับจากการระบุตัวตนหรือการแสดงตนของลูกค้า

2.2 ทางสถาบันการเงินจะต้องพิสูจน์ว่าเป็นลูกค้าหรือบุคคลที่ได้รับมอบอานาจทอดสุดท้ายจากนิติบุคคล รายนั้นจริง

2.3 เอกสารที่นำมายื่นจะต้องเป็นหลักฐานที่น่าเชื่อถือ เช่น การใช้ประชาชนแบบอเนกประสงค์ (Smart Card) เป็นเอกสารหลักฐานการแสดงตน สถาบันการเงินต้อง ตรวจสอบข้อมูลจากเครื่องอ่านบัตรประจาตัวประชาชนแบบอเนกประสงค์ (Smart Card Reader) และตรวจสอบสถานะของบัตรประจาตัวประชาชนผ่านระบบการตรวจสอบทางอิเล็กทรอนิกส์

2.4  สถาบันการเงินต้องถ่ายรูปลูกค้า รวมถึงต้องใช้เทคโนโลยีเพื่อพิสูจน์ความเป็นบุคคลและสังเกตพฤติกรรมลูกค้า (Liveness Detection) และเทคโนโลยีเปรียบเทียบข้อมูลชีวมิติของลูกค้า (Biometric Comparison)

 

kyc ธนาคารแห่งประเทศไทย : บทส่งท้าย

 

เป็นอย่างไรบ้างคะกับการทำความรู้จัก kyc ธนาคารแห่งประเทศไทยที่ทางเราคัดสรรมาให้ ท่านผู้อ่านพอจะเข้าใจถึงคำจำกัดความ ขั้นตอน รวมถึงผลประโยชน์และความรัดกุมบ้างแล้วใช่ไหมคะ โดยระบบนี้มีขึ้นเพื่อความปลอดภัยของตัวท่านเองไม่ใช่การจับผิด เพียงไม่ทำธุรกรรมที่ดูน่าสงสัยว่าจะเข้าข่ายหรือในความเป็นจริง KYC อาจช่วยเหลือท่านได้เมื่อถูกบังคับหรือถูกโจรกรรมข้อมูลนะคะ

 

บัตรเครดิต ซิตี้ แคชแบ็ก แพลตตินั่ม

อย่าลืมกดติดตามอัพเดตบทความและสาระดีดีกันนะ

บทความแนะนำ
บัตรเครดิตการ์ดเซ็นทรัลเดอะวัน
องค์กรอื่นๆผู้ให้บริการบัตรเครดิต
[[รีวิว]] บัตรเครดิตการ์ดเซ็นทรัลเดอะวัน (Central The 1) ที่ชาว Pantip แนะนำให้คนรักช้อปกับเครือเซ็นทรัลต้องมี!
บัตรเครดิตการ์ดเซ็นทรัลเดอะวัน ใบไหนโดนใจน่าใช้บ้างมาดูกัน คลิก! อ่านร...
จ่ายชำระบัตรเครดิต KTC
ธนาคาร/สถาบันการเงินผู้ให้บริการบัตรเครดิต
7 ช่องทางและวิธีจ่ายบัตรเครดิต KTC แสนสะดวก ง่ายดาย ไม่ต้องกลัวช้าจนต้องร้องว้าว!
วิธีจ่ายชำระบัตรเครดิต KTC แสนสบาย ผ่าน 7 ช่องทางลัดสุดง่ายดาย ไม่ต้อง...