Contents
- 1 รวมทุกเรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับประกันสุขภาพสะสมทรัพย์
- 2 ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ คืออะไร!?
- 3 ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์มีให้เลือกกี่แบบ!?
- 4 dfsdfdsfsdfsdfsd
- 5 ข้อดีที่ควรทราบของประกันสุขภาพสะสมทรัพย์
- 6 ข้อด้อยที่ควรทราบของประกันสุขภาพสะสมทรัพย์
- 7 สิ่งที่ควรทราบก่อนเลือกซื้อประกันสุขภาพสะสมทรัพย์
- 8 1.วงเงินคุ้มครองของประกันสุขภาพสะสมทรัพย์
- 9 2.ระยะเวลาในการชำระเบี้ยประกันสุขภาพสะสมทรัพย์
- 10 3.งวดชำระเบี้ยของประกันสุขภาพสะสมทรัพย์
- 11 4.รูปแบบการจ่ายเงินคืนของประกันสุขภาพสะสมทรัพย์
- 12 บทสรุปส่งท้าย : เลือกประกันสุขภาพสะสมทรัพย์อย่างไรให้คุ้มค่าที่สุด!?
รวมทุกเรื่องที่ควรรู้เกี่ยวกับประกันสุขภาพสะสมทรัพย์
หลายคนที่อยากสะสมทรัพย์... อาจเคยได้ยินเรื่องของ “ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์” แล้วเกิดความสนใจอยากที่จะลองศึกษาหาข้อมูลเพื่อคำนวณถึงความคุ้มค่าว่าน่าทำกันหรือเปล่า!? แน่นอนว่าบทความในวันนี้ก็ได้ทำการรวบรวมเรื่องราวที่น่าสนใจควรรู้เกี่ยวกับประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ฝากกันว่ามีอะไรที่ควรรู้กันบ้าง!? แล้วประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ให้ค่าตอบแทนที่ดีจริงหรือเปล่า!?
ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ คืออะไร!?
ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ คือ ประกันชีวิตที่เน้นการ “ออมเงิน” ในขณะเดียวกันก็รับความคุ้มครองไปพร้อมกัน เมื่อทำการจ่ายเบี้ยประกันให้กับกรมธรรม์ตามที่สัญญาระบุครบจำนวน ทางบริษัทประกันก็จะทำการจ่ายเงินคืนให้กับผู้ทำประกัน โดยอาจทำการจ่ายเป็นเงินก้อนครั้งเดียวหรือจ่ายเงินคืนเป็นรายเดือนตามที่ตกลงกันตลอดอายุสัญญา นอกจากนี้ถ้าหากผู้ทำประกันเสียชีวิตระหว่างส่งกรมธรรม์ ลูกหลานและญาติใกล้ชิดก็จะได้รับเงินก้อนที่เรียกว่า “จำนวนเงินเอาประกัน” ตามที่ระบุเอาไว้ในสัญญาอีกด้วย
ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์มีให้เลือกกี่แบบ!?
ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ในปัจจุบันมีให้เลือกทั้งหมด 2 แบบ คือ “ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ระยะสั้น” และ “ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์” ระยะยาว เช่น 5/10 7/15 15/25 1/30 20/20 เป็นต้น โดยตัวเลขของประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ มีความหมายที่ควรรู้คือ
ตัวเลขด้านหน้า = จำนวนปีที่ต้องชำระเบี้ยประกัน
ตัวเลขด้านหลัง = จำนวนปีที่คุ้มครอง
dfsdfdsfsdfsdfsd
ประกันชีวิตแบบ 20/20 หมายความว่า ระยะเวลาในการจ่ายดอกเบี้ย 20 ปี ให้ความคุ้มครองชีวิต 20 ปี เมื่อครบกำหนดอายุกรมธรรม์ก็จะได้รับเงินออมและผลประโยชน์ตามเงื่อนไขของกรมธรรม์ เป็นต้น
ข้อดีที่ควรทราบของประกันสุขภาพสะสมทรัพย์
- ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ ให้ผลการตอบแทนที่แน่นอน ปราศจากความเสี่ยง
- ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ช่วยคุ้มครองชีวิต
- ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ช่วยสร้างความมั่นคงให้กับคนข้างหลัง (*กรณีเสียชีวิตระหว่างการส่งกรมธรรม์)
- ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ช่วยทำให้มีเงินก้อนไว้ใช้ในอนาคต (*เมื่อทำการส่งเบี้ยประกันตามอายุสัญญา)
- ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์นำไปลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 1 แสนบาท
- ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ ในส่วนของผลตอบแทนไม่จำเป็นจะต้องเสียภาษีเหมือนกับดอกเบี้ยของเงินฝากออมทรัพย์
ข้อด้อยที่ควรทราบของประกันสุขภาพสะสมทรัพย์
- ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ไม่สามารถเบิก-ถอนออกมาได้อย่างรวดเร็วเหมือนกับบัญชีสะสมทรัพย์ หากนำออกมาใช้ต้องทำเรื่องเพื่อขอ “เวนคืนกรมธรรม์” เพื่อรับเงินสด ทำให้สัญญาระหว่างกันเป็นอันยุติ
- ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์หากทำการยกเลิกจะได้รับเบี้ยประกันมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับจำนวนปีที่ทำการส่งดอกเบี้ยกรมธรรม์นั่นเอง
- ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ทุนประกันไม่สูงถ้าหากทำการเปรียบเทียบประกันแบบต่างๆแล้วจะเห็นได้ว่าประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ไม่สูงนัก ถ้าหากเทียบกับประกันชีวิตแบบตลอดชีพ ดังนั้น ถ้าหากใครที่กำลังมองหาประกันสุขภาพสำหรับเหลือไว้คนรุ่นหลัง ขอแนะนำให้เลือกประกันแบบอื่นจะมีความคุ้มค่ากว่า
- ประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ผลตอบแทนไม่สูงมาก เพราะมีความมั่นคงสูง ทำให้ผลการตอบแทนน้อยกว่าการนำเงินไปลงทุนในทรัพย์สินอื่น เช่น หุ้น กองทุน และอสังหาริมทรัพย์ เป็นต้น
สิ่งที่ควรทราบก่อนเลือกซื้อประกันสุขภาพสะสมทรัพย์
ก่อนที่จะทำการเลือกซื้อประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ มีหลายสิ่งที่ควรทราบเพื่อเป็นข้อมูลช่วยในการตัดสินใจ ดังต่อไปนี้
1.วงเงินคุ้มครองของประกันสุขภาพสะสมทรัพย์
ที่เหมาะกับตัวเอง โดยทั่วไปแล้วประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ที่มีความคุ้มครองสูงมักจะได้รับผลตอบแทนที่ค่อนข้างน้อย
2.ระยะเวลาในการชำระเบี้ยประกันสุขภาพสะสมทรัพย์
ควรเลือกระยะเวลาในการชำระประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ที่เหมาะสมกับตัวเอง โดยดูว่าเริ่มทำประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ตั้งแต่ตอนไหน หากทำตั้งแต่ช่วงวัยทำงานการเลือกแบบระยะยาวอาจเป็นตัวเลือกที่ดี
3.งวดชำระเบี้ยของประกันสุขภาพสะสมทรัพย์
โดยส่วนใหญ่แล้วงวดของประกันสุขภาพสะสมทรัพย์จะเป็นแบบรายปี แต่ก็สามารถทำการชำระเป็นแบบรายเดือนหรือหกเดือนได้เช่นกัน แต่อาจต้องเสียค่าเบี้ยประกันเพิ่มขั้นอีก 2-9%
4.รูปแบบการจ่ายเงินคืนของประกันสุขภาพสะสมทรัพย์
ส่วนใหญ่แล้วเงินคืนจะเป็นแบบรายงวดและเงินคืนเมื่อครบกำหนดสัญญา แต่แนะนำว่าหากไม่ได้ใช้เงินทำอะไรควรฝากกลับคืนเอาไว้เพราะจะได้รับดอกเบี้ยสูงกว่าเงินฝากทั่วไปและไม่เสียภาษีอีกด้วย
บทสรุปส่งท้าย : เลือกประกันสุขภาพสะสมทรัพย์อย่างไรให้คุ้มค่าที่สุด!?
สำหรับวิธีการเลือกประกันสุขภาพสะสมทรัพย์... ขอแนะนำว่าให้ลองคิดคำนวณจากดอกเบี้ยที่ได้ทำการส่งไปทั้งหมดว่าจะได้รับคืนมาแล้วเหลือเท่าไหร่ จากนั้นนำมูลค่าในส่วนนี้ไปเปรียบเทียบกับประกันสุขภาพสะสมทรัพย์หลายๆเจ้าที่มีการกำหนดระยะเวลาเอาไว้เท่ากัน เพียงเท่านี้ก็จะช่วยให้สามารถเลือกได้แล้วว่าประกันสุขภาพสะสมทรัพย์ของบริษัทไหนที่ดีที่สุดนั่นเอง...