สินเชื่อบ้าน SCB
บัตรเครดิต ซิตี้ แคชแบ็ก แพลตตินั่ม

Contents

รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมกับข้อดีที่คนส่วนใหญ่อาจไม่เคยรู้!!

รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม

 

การรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม...

เป็นหนึ่งในเทคนิคของการลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อการซื้อบ้านให้น้อยลงมากกว่าเดิมได้อย่างน่าสนใจเป็นอย่างมากเลยทีเดียว

แต่หลายคนอาจจะยังลังเล สงสัยและไม่แน่ใจว่าระหว่างรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมกับรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารใหม่ อันไหนดีกว่ากัน มาติดตามอ่านไขปริศนาจากบทความชิ้นนี้กันได้เลย

 

สิ่งที่ควรรู้ก่อนทำการขอสินเชื่อรีไฟแนนซ์บ้าน

 

หลายคนอาจไม่เคยทราบมาก่อนว่า หากทำการกู้สินเชื่อรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารนั้น ต้องรอให้ถึงระยะเวลา 3 ปี เสียก่อนไม่อย่างนั้นจะต้องถูกค่าปรับไม่เกิน 3% ของวงเงินกู้

ซึ่งเงื่อนไขเหล่านี้จะขึ้นอยู่กับนโยบายของแต่ละธนาคาร โดยบางธนาคารอาจจะไม่คิดค่าปรับในส่วนนี้เช่นกัน ดังนั้น ควรทำการตรวจสอบเงื่อนไขของแต่ละธนาคารให้ดีเสียก่อน

ช่วงเวลาใดที่ควรทำการขอรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคาร

รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม

 

ส่วนใหญ่แล้วการรีไฟแนนซ์บ้าน ไม่ว่าจะกับธนาคารเดิมหรือรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารใหม่ มักจะเริ่มต้นมาจากการแบกอัตราดอกเบี้ยตามปกติของธนาคารเดิมหลังจากช่วงหมดโปรโมชั่นไม่ไหว

และg,njvมีสถาบันทางการเงินทั้งเก่าและใหม่ ได้เสนอตัวเลือกที่ดีกว่าโดยการให้ทำการรีไฟแนนซ์บ้าน จากการให้กู้ยืมสินเชื่อก้อนใหม่แล้วนำไปโปะหนี้ก้อนเก่าให้หมด

จากนั้นค่อยทำการทยอยใช้หนี้ที่ทำการรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมหรือธนาคารใหม่อีกครั้ง ที่มีอัตราดอกเบี้ยถูกกว่านั่นเอง

 

รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม สามารถทำได้หหรือเปล่า!?

 

เชื่อว่าหลายคนคงจะเคยได้ยินคำว่า "รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม" มาก่อน แต่ที่จริงแล้ว การขอรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม ก็คือการ "ขอลดอัตราดอกเบี้ยสินเชื่อกู้ซื้อบ้านกับธนาคารเดิม" ที่กำลังเป็นลูกหนี้อยู่ในปัจจุบันมากกว่า หรือที่เรียกกันว่าการขอ "Retention"

สำหรับการขอรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมจะสามารถทำได้เมื่อมีการผ่อนชำระคืนให้กับทางธนาคารเป็นระยะเวลาประมาณ 3 ปี เมื่อหมดช่วงโปรโมชั่นดังกล่าว อัตราของดอกเบี้ยก็จะเพิ่มสูงขึ้นทำให้ขอลดอัตราดอกเบี้ยกับทางธฯนาคารได้

แต่ถ้าหากอัตราดอกเบี้ย หรือการขอรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมไม่ลดน้อยลงอย่างที่ตั้งใจเอาไว้ หรือในระดับที่ยอมรับได้ก็จะมีการพิจารณาเพื่อขอรีไฟแนนซ์สินเชื่อบ้านกับทางธฯาคารใหม่ที่มอบโปรโมชั่นที่เหมาะสมมากกว่านั่นเอง

 

รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมกับรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารใหม่ อันไหนดีกว่ากัน!?

รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม

 

ก่อนที่จะตัดสินใจว่าควรจะทำการรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม หรือรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารใหม่นั้น ลองมาฟังข้อดีและข้อด้อยของการรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารแต่ละแบบเพื่อประกอบการตัดสินใจกันก่อนดีกว่า ว่าแบบไหนเจ๋งกว่ากัน!?

ข้อดีของการรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม

รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม

 

  • รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม ไม่ต้องเสียดอกเบี้ยการจดจำนองใหม่
  • รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมทราบผลอนุมัติไว เพราะทางธนาคารมีข้อมูลด้านสินเชื่อทั้งหมดของลูกหนี้
  • รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมไม่ต้องเสียเวลาไปยื่นเรื่องและส่งมอบเอกสารให้กับสถาบันทางการเงินใหม่
  • รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมได้รับอัตราดอกเบี้ยที่ถูกลงกว่าเดิม
  • รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมอัตราดอกเบี้ยส่วนใหญ่จะใกล้เคียงกับการรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารใหม่ ทำให้เหมาะอย่างมากสำหรับคนที่ไม่ค่อยชอบค้นคว้าหาข้อมูลนัก
  • รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมช่วยยืดระยะเวลาในการผ่อนชำระหนี้สินให้มีความยาวนานมากยิ่งขึ้นกว่าเดิม

 

ข้อด้อยของการรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม

รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม

 

รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารส่วนใหญ่แล้วจะลดอัตราดอกเบี้ยให้เล็กน้อย เช่น จาก 7.7% เหลือ 5.5% เป็นต้น

ข้อดีของการรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารใหม่

รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม

 

  • รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารใหม่ ดอกเบี้ยลดลงค่อนข้างมาก เช่น จาก 7.7% เหลือ 2.90%
  • รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมใหม่ ได้รับอัตราดอกเบี้ยที่ถูกลงมากกว่าเดิม
  • รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารใหม่ ช่วยยืดระยะเวลาในการผ่อนสินเชื่อให้ยาวนานมากขึ้นกว่าเดิม

ข้อด้อยของการรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารใหม่

รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม

 

  • รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารกับธนาคารใหม่ ต้องเสียค่าธรรมเนียมในการจดจำนองใหม่
  • รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารใหม่มีขั้นตอนที่เรียกได้ว่าค่อนข้างยุ่งยาก
  • รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารใหม่ค่อนข้างลำบากในการหาข้อมูลว่าสถาบันทางการเงินไหนให้อัตราดอกเบี้ยที่คุ้มค่าที่สุด
  • รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารใหม่ ค่อนข้างหลากหลายและบางโปรโมชั่นก็มีระยะเวลาเพียงเล็กน้อย ทำให้หลายคนตัดสินใจในการยื่นเรื่องของสินเชื่ออันไหนดี

เคล็ดลับขอรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมอย่างไรให้ผ่านฉลุยไร้สะดุด!!!

รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม

 

การขอรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม ต้องเป็นลูกหนี้ที่มีประวัติการชำระหนี้ที่ดีเป็นอย่างมาก นอกจากจะช่วยให้ทำการอนุมัติได้อย่างง่ายดายแล้ว ยังช่วยในการได้พิจารณาลดดอกเบี้ยในอัตราที่สูงกว่าเดิมได้อีกด้วย

 

การขอรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม ต้องสมัครประกัน MRTA ใหม่ทุกครั้งจริงหรือเปล่า!?

 

หลายคนอาจสงสัยว่า เมื่อทำการรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมจำเป็นที่จะต้องทำประกัน MRTA ใหม่หรือเปล่า ไม่เช่นนั้นจะทำให้การขอสินเชื่อกลายมาเป็นเรื่องที่ยากเป็นอย่างมาก

สำหรับประเด็นนี้ต้องขอบอกว่า "ไม่จริง" เพราะทางธนาคารส่วนใหญ่จะพิจารณาว่าผู้สมัครมีศักยภาพในการจ่ายหนี้คืนได้หรือไม่มากกว่า

 

ขอรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม ควรทำประกัน MRTA ไหม!?

 

สำหรับการทำประกัน MRTA เมื่อขอทำการรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมเองก็มีข้อดีเหมือนกัน แต่เหมาะสำหรับคนที่มีกำลังทรัพย์เพียงพอ เพราะบางธนาคารหากทำประกัน MRTA ควบคู่ไปกับการขอรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม ก็จะมีโปรโมชั่นที่น่าสนใจร่วมด้วย เช่น ฟรี! ค่าจดจำนอง เป็นต้น

อย่างไรก็ตาม การทำประกันดังกล่าวเป็นเพียงแนวทางเพิ่มเติมสำหรับการขอรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมเท่านั้น ดังนั้น ถ้าหากมีประกันอื่นที่มีความคุ้มค่ามากกว่า เช่น ประกันคุ้มครองสินเชื่อเพื่อประชาชน เป็นต้น ที่สามารถซื้อเมื่อไหร่ก็ได้ที่พร้อม ก็อาจจะเป็นทางเลือกที่น่าสนใจมากกว่านั่นเอง

 

ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการขอรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม

 

สำหรับการรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม มักจะมีค่าใช้จ่ายเป็นส่วนของ "ค่าธรรมเนียม" ประมาณ 1-2 % ของยอดกู้เดิม ยกตัวอย่างเช่น หากทำการกู้สินเชื่อบ้านมา 4 ล้านบาท ก็จะต้องชำระค่าธรรมเนียมในการขอรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมราว 20,000 - 40,000 บาท เป็นต้น

ดังนั้น ในการขอรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม ควรนำค่าใช้จ่ายเหล่านี้มาร่วมคำนวณด้วย เพื่อที่จะมองเห็นภาพรวมว่าการขอรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม หรือทำการรีไฟแนนซืกับธนาคารใหม่ อันไหนถึงจะมีความคุถ้มค่ามากที่สุดนั่นเอง

 

บทสรุปส่งท้าย : โดยรวมแล้วสินเชื่อรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมดีไหม!?

รีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม

 

          สินเชื่อรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิม

โดยรวมแล้วเหมาะอย่างมากกับคนที่ไม่ต้องการความยุ่งยากวุ่นวายในการตามหารีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารใหม่ เพราะรีไฟแนนซ์บ้านกับธนาคารเดิมขั้นตอนในการสมัครที่ไม่ยุ่งยากจนน่าสนใจอย่างมากเลยทีเดียว...

 

บัตรเครดิต ซิตี้ แคชแบ็ก แพลตตินั่ม

อย่าลืมกดติดตามอัพเดตบทความและสาระดีดีกันนะ

บทความแนะนำ
บัตรกดเงินสดยูเมะพลัส (Umay+) กดเงินสดทันใจผ่าน 50,000 ตู้ ATM ยูเมะพลัส ทั่วประเทศ ฟรี! ไม่เสียค่าธรรมเนียมสักบาท  
ธนาคาร/ผู้ให้บริการบัตรกดเงินสด
บัตรกดเงินสดยูเมะพลัส (Umay+) กดเงินสดทันใจผ่าน 50,000 ตู้ ATM ยูเมะพลัส ทั่วประเทศ ฟรี! ไม่เสียค่าธรรมเนียมสักบาท  
บัตรกดเงินสดยูเมะพลัส (Umay+) สะดวกสบายกับตู้บริการกว่า 50,000 ตู้ แถม...
บัตรเครดิต KTC มีกี่แบบ
ธนาคาร/สถาบันการเงินผู้ให้บริการบัตรเครดิต
บัตรเครดิต KTC มีกี่แบบ แล้วใบไหนล่ะที่ใช่ โดนใจ ตอบไลฟ์สไตล์คุณ!?
บัตรเครดิต KTC มีกี่แบบ แล้วใบไหนล่ะที่ใช่เลยตอบโจทย์ไลฟ?สไตล์ของคุณ!?...
บัตร กด เงินสด กรุง ไทย
ธนาคาร/ผู้ให้บริการบัตรกดเงินสด
รวม [3 ข้อดี] ของบัตรกดเงินสดของธนาคารกรุงไทย "KTC PROUND" เบิกถอนได้สบายหายห่วง!!
คุ้มค่าทุกการใช้งานทุกโอกาส บัตรกดเงินสดที่พร้อมให้บริการคุณยามฉุกเฉิน...