พันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส) พ.ศ. 2565 #ครั้งที่ 1 ดีไหม น่าลงทุนหรือเปล่า?
บัตรเครดิต ซิตี้ แคชแบ็ก แพลตตินั่ม
ฉบับย่อ :

  • พันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส) พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 คือการกู้ยืมเงินโดยวิธีการวางจำหน่ายพันธบัตรของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โดยเป็นการ Re - Open ครั้งที่ 2 จำนวน 6,500 ล้านบาท โดยมีมูลค่าหน่วยละ = 1,000 บาท
  • อายุการไถ่ถอน 2.43 ปี อัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0.90 และจ่ายดอกเบี้ย 2 ครั้ง ในวันที่ 1 มิ.ย. และ 1 ธ.ค. ของทุกปี วันวางจำหน่าย 27 มิ.ย. 2565
  • การจำหน่ายธนบัตรมีสองวิธี คือ การจำหน่ายธนบัตร โดยวิธีเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่ผู้ใช้บริการ e-Bidding แก่สถาบันการเงิน ธุรกิจและองค์กรขนาดกลาง และการจำหน่ายพันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส) พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 โดยวิธีการเสนอซื้อให้กับองค์กรหรือนิติบุคคลที่ไม่แสวงหาผลกำไร

อยากลงทุนกับพันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส)  พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 ดีไหม? บทความนี้มีคำตอบ

พันธบัตร ธ ก ส

 

ถ้าหากกล่าวถึงพันธบัตร นักลงทุนหลายคนก็คงจะคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี แต่ถ้าหากพูดถึง “พันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส)  พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1” หลายคนอาจเริ่มเกิดความสงสัยว่าทาง ธ.ก.ส มีการออกพันธบัตรกับเข้าด้วยหรือ? แล้วพันธบัตรนี้มีความน่าสนใจอย่างไรกันบ้าง?

ถ้าหากใครกำลังมองหาของทางการลงทุนในปี 2565 แต่ก็ยังตัดสินใจไม่ได้ว่าควรลงทุนกับที่ไหนดี บางทีพันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส)  พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 อาจกลายมาเป็นหนึ่งในตัวเลือกที่น่าสนใจไม่เบาได้เช่นกัน

 

พันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส)  พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 คืออะไร?

พันธบัตร ธ ก ส

 

พันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส)  พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 คือการกู้ยืมเงินโดยวิธีการวางจำหน่ายพันธบัตรของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร โดยเป็นการ Re - Open ครั้งที่ 2 จำนวน 6,500 ล้านบาท เป็นการปรับเพิ่มปริมาณเพื่อเพิ่มปริมาณธนบัตรในครั้งที่ 1 ที่มียอดค้างจำนวน 8,500 บาท เมื่อรวมกันแล้วทำให้ยอดรวมของพันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส)  พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 มียอดรวม 15,000 ล้านบาท

สำหรับพันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส)  พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 กระทรวงการคลังเป็นผู้ทำหน้าที่ค้ำประกันเงินต้นและดอกเบี้ย รัฐบาลรับภาระเป็นผู้ทำการจ่ายคืนเงินต้นและดอกเบี้ย รวมไปถึงค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจริง โดยมีมูลค่าหน่วยละ = 1,000 บาท

 

รายละเอียดการลงทุนของพันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส)  พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 ที่น่าสนใจ

พันธบัตร ธ ก ส

 

สำหรับนักลงทุนก็คงอยากที่จะทราบกันก่อนว่าพันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส)  พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 มีความน่าสนใจในเรื่องของผลตอบแทนและระยะเวลาที่จะได้รับผลตอบแทนอย่างไรกันบ้าง ซึ่งพันธบัตรประเภทนี้ได้มอบผลตอบแทนที่น่าสนใจ ดังต่อไปนี้

 

อายุการไถ่ถอน อัตราดอกเบี้ยร้อยละ / ปี จำนวนวงเงินจำหน่าย (ล้านบาท) จ่ายดอกเบี้ย
2.43 ปี 0.90 6,500 จ่าย 2 งวด

1 มิ.ย. และ 1 ธ.ค. ของทุกปี

 

แผนการวางจำหน่ายพันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส)  พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1

พันธบัตร ธ ก ส

 

สำหรับระยะเวลาในการวางจำหน่ายพันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส)  พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 ตามกำหนดการมีดังต่อไปนี้

 

วันที่วางจำหน่าย วงเงินจำหน่าย

(ล้านบาท)

วันที่ชำระเงิน วันเริ่มคำนวณดอกเบี้ย วันครบกำหนดไถ่ถอน
27 มิ.ย. 2565 6,500 29 มิ.ย. 2565 1 มิ.ย. 2565 1 ธ.ค. 2567

 

วิธีการออกพันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส)  พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 ให้กับผู้มีสิทธิซื้อ

พันธบัตร ธ ก ส

 

ในส่วนของการออกพันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส)  พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 ให้กับผู้ที่มีสิทธิซื้อ มีอยู่ทั้งหมด 2 ประเภทคือ

 

  • การจำหน่ายธนบัตร โดยวิธีเสนอประมูลอัตราผลตอบแทนให้แก่ผู้ใช้บริการ e-Bidding แก่สถาบันการเงิน ธุรกิจและองค์กรขนาดกลาง
  • การจำหน่ายพันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส) พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 โดยวิธีการเสนอซื้อให้กับองค์กรหรือนิติบุคคลที่ไม่แสวงหาผลกำไร

 

.
พันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส)  พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 เหมาะกับการลงทุนไหมคะ?

.
พันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส)  พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 จำหน่ายในรูปแบบของการประมูลให้กับสถาบันการเงินและมูลนิธิ บุคคลธรรมดาไม่สามารถซื้อได้

 

 

ส่งท้ายก่อนจาก # พันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส)  พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 ดีไหม

พันธบัตร ธ ก ส

 

จากการวิเคราะห์ข้อมูลโดยรวมแล้ว พันธบัตรเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส)  พ.ศ. 2565 ครั้งที่ 1 ถือว่ามอบอัตราดอกเบี้ยให้เป็นผลตอบแทนที่น้อยไปสักหน่อยเมื่อทำการเปรียบเทียบกับพันธบัตรประเภทอื่น อีกทั้งยังเป็นการเปิดประมูลราคาผลตอบแทนเฉพาะกับนิติบุคคลและสถาบันทางการเงินเท่านั้น ทำให้บุคคลธรรมดาหมดสิทธิในการเข้าร่วมเป็นเจ้าของ ยกเว้นจะอยู่ในกองทุนที่ซื้อพันธบัตรนี้เพื่อสร้างผลกำไรตอบแทนให้กับสมาชิกกองทุนเท่านั้น

บัตรเครดิต ซิตี้ แคชแบ็ก แพลตตินั่ม

อย่าลืมกดติดตามอัพเดตบทความและสาระดีดีกันนะ

บทความแนะนำ
ปิด บัตร เครดิต กสิกร
ธนาคาร/ผู้ให้บริการบัตรกดเงินสด
ยูเมะพลัส (Umay+)ผ่อนโทรศัพท์ทรูมูฟได้นานสุดกี่เดือนเสียดอกเบี้ยหรือเปล่ามาดูกัน
รู้หรือไม่ว่าบัตรกดเงินสดยูเมะพลัสสามารถผ่อนโทรศัพท์จากค่ายทรูมูฟได้ ด...